Page 566 - เล่มแผนพัฒนาจังหวัด พ.ศ. 2561-2565 (ฉบับทบทวน พ.ศ. 2564
P. 566

634



                                                                                                        แบบ จ.1-1
                                                                                          (Project idea รายโครงการ)

                           การจัดทําแบบสรุปโครงการแบบยอ (Project Brief) ของทุกโครงการ ภายใตงบประมาณจังหวัด

                                               แบบสรุปโครงการแบบยอ (Project Brief)
            ประเด็นการพัฒนาจังหวัด การพัฒนาสังคมปลอดภัย คุณภาพชีวิตที่ดีและมีศักยภาพในการแขงขัน
            แผนงาน ประชาชนมีสุขภาวะ


                            หัวขอ                                        รายละเอียด
                 1.ชื่อโครงการ                 ลดความเหลื่อมล้ําทางสังคมและแกไขปญหาความยากจนเชิงบูรณาการ

                 2.ความสําคัญของโครงการ           แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ฉบับที่ 12 (พ.ศ. 2560-2564) ไดกําหนด
                 หลักการและเหตุผล             เปาหมาย 6 เปาหมาย โดยกําหนดเปาหมายการลดความเลื่อมล้ําทางดานรายไดและความ

                                              ยากจน การเขาถึงบริการทางสังคมที่มีคุณภาพอยางทั่วถึง เปนเปาหมาย 1 ใน 6  ซึ่ง
                                              กระทรวงมหาดไทยเปนหนวย “บําบัดทุกข บํารุงสุข” ไดดําเนินการแกไขปญหาความ

                                              ยากจน ตามนโยบายของรัฐบาลตั้งแตแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ฉบับที่ 9
                                              เพื่อลดความเลื่อมล้ําดานรายไดของประชาชนในชนบท ดวยการสงเสริม สนับสนุนให

                                              ครัวเรือนยากจนที่มีรายได ไมผานเกณฑความจําเปนพื้นฐาน  (รายไดเฉลี่ยต่ํากวา 38,000
                                              บาทตอคนตอป) นอมนําหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาปรับเปลี่ยนทัศนคติ  เพื่อ

                                              พัฒนาความเปนอยูของครอบครัว  ดวยการลดรายจาย พัฒนาอาชีพ เพิ่มรายได ใหมี
                                              คุณภาพชีวิตดีขึ้น โดยกระทรวงมหาดไทย ใหจังหวัดใชคณะกรรมการขับเคลื่อนปรัชญาของ

                                              เศรษฐกิจพอเพียงทั้งระดับจังหวัดและระดับอําเภอ เปนกลไกในการขับเคลื่อนการขจัดความ
                                              ยากจนโดยมี สํานักงานพัฒนาชุมชนจังหวัดสุราษฎรธานี ทําหนาที่เปนหนวยงานที่ชี้เปา
                                              ครัวเรือนยากจนและประสานความรวมมือใหเกิดการบูรณาการการดําเนินงานแกไขปญหา

                                              ความยากจนรวมกันทุกภาคสวน

                                                     ในการสํารวจขอมูลความจําเปนพื้นฐาน (จปฐ.) ประจําป 2561 ปรกฎวามีครัวเรือนที่

                                              ตกเกณฑความจําเปนพื้นฐานดานรายได (ต่ํากวา 38,000บาท/คน/ป) รวม 1,016 ครัวเรือน
                                              โดยรอยละ 30 เปนครัวเรือนที่ตกเกณฑความจําเปนพื้นฐานซ้ําจากการสํารวจ จปฐ.เมื่อป

                                              2560 ซึ่งแสดงวายังมีครัวเรือนยากจน ที่ตองตองดูแลเปนพิเศษหลงเหลืออยูจํานวนมาก
                                              ครัวเรือนตกเกณฑ จปฐ.ป 2561 สามารถจําแนกเปนกลุมที่สามารถพัฒนาได จํานวน 439

                                              ครัวเรือน กลุมที่ตองไดรับการสงเคราะห 95 ครัวเรือน เปนครัวเรือนที่ไมขอรับการ
                                              ชวยเหลือ จํานวน 455 ครัวเรือน และครัวเรือนอื่น ๆ 27 ครัวเรือน


                 3.  วัตถุประสงคของโครงการ    เพื่อสงเสริม สนับสนุนครัวเรือนยากจน ใหสามารถบริหารจัดการชีวิตตนเองไดอยาง
                                              เหมาะสมมีงานทําและมีรายไดเพิ่มขึ้น โดยดําเนินชีวิตตามแนวทางปรัชญาของเศรษฐกิจ
                                              พอเพียง

                 4.  ตัวชี้วัดและคาเปาหมาย   1.ครัวเรือนยากจน ที่มีรายไดเฉลี่ยไมเกิน 38,000 บาทตอคนตอป จํานวน  250 ครัวเรือน
                                              มีรายไดเพิ่มขึ้น
                                              2.ครัวเรือนผูมีรายไดนอย ที่มีรายไดเกินกวา 38,000 บาท แตไมเกิน 50,000 บาท จํานวน
   561   562   563   564   565   566   567   568   569   570   571