Page 33 - เล่มแผนพัฒนาจังหวัด พ.ศ. 2561-2565 (ฉบับทบทวน พ.ศ. 2564
P. 33

30


                                 1.3) กลุมดินที่มีความลาดชัน เนื้อที่ 2,902,759 ไร

                                 1.4) พื้นที่อื่นๆ ไดแก สนามบิน พื้นที่เพาะเลี้ยงสัตวน้ํา หาด ปาชายเลน สนามกอลฟ เกาะที่
                   ลุมแฉะ ที่ดิน คัดแปลง บอ พื้นที่ชุมชน พื้นที่น้ํา เนื้อที่ 505,313 ไร

                          การใชประโยชนที่ดินในจังหวัดสุราษฎรธานี มีการใชเปนพื้นที่เกษตรกรรมรอยละ 62.18 พื้นที่ปา

                   รอยละ 30.38 พื้นที่ชุมชนและสิ่งปลูกสรางสรอยละ 3.02 พื้นที่น้ํารอยละ 2.37 และพื้นที่เบ็ดเตล็ด 1.36 โดย
                   พื้นที่การทําการเกษตรสวนใหญ เปนพื้นที่ในการปลูกยางพาราและปาลมน้ํามัน ซึ่งเปนพืชเศรษฐกิจหลักของ

                   จังหวัดสุราษฎรธานี นอกจากนี้ยังมีพื้นที่ในการปลูกพืชผลไม เชน มังคุด เงาะ ทุกเรียน ฯลฯ (กรมพัฒนาที่ดิน.2558-2559)

                          (2) ปญหา
                                 ดินที่มีปญหาดานการเกษตร

                                 จากรายงานของกรมพัฒนาที่ดิน พบวา จังหวัดสุราษฎรธานี มีพื้นที่ที่มีปญหาทรัพยากรดิน
                   รวม 3,309,121 ไร ประกอบดวย ปญหาดินตื้น 2,764 ไร ดินทราย 7,378 ไร ดินอินทรีย 1,472 ไร ดินเปรี้ยว

                   จัดในระดับลึกปานกลาง 17,652 ไร ดินเปรี้ยวจัดในระดับลึกปานกลางที่มีศักยภาพกอไหเกิดเปนดินเปรี้ยวจัด

                   136,476 ไร ดินเลนเค็มชายทะเลที่มีศักยภาพกอใหเกิดเปนดินกรดกํามะถัน 155,629 ไร และพื้นที่ลาดชัน
                   เชิงซอน 2,878,029 ไร ผลกระทบที่เกิดขึ้นผลกระทบของปญหา ทําใหพืชผลทางการเกษตรไดรับความ

                   เสียหายหรือพื้นที่ไมสามารถใชประโยชนดานการเกษตรได
                                 ดินเสี่ยงตอการชะลางพังทลายของดิน

                                 บริเวณพื้นที่ที่เสี่ยงตอการชะลางพังทลายของดิน ไดแก พื้นที่บริเวณที่มีความลาดชัน

                   มากกวา 35 องศา ซึ่งเปนผลมาจากชะลางพังทลายของน้ําฝน อันเปนผลมาจากการการขาดพืชปกคลุมดิน
                   เนื่องมาจากปญหาการลักลอบตัดไมทําลายปา การแผว ถาง ทําลายปา การบุกรุกที่ดินเพื่อประโยชนสวนตัว

                   เปนตน ผลกระทบที่เกิดขึ้น แรธาตุและธาตุอาหารในดินถูกชะลาง การสูญเสียดิน รวมถึงการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิประเทศ

                                 การเปลี่ยนแปลงการใชประโยชนที่ดินเปนเขตชุมชนเมืองเพิ่มขึ้น
                                 จากขอมูลการเปลี่ยนแปลงการใชประโยชนที่ดิน  ซึ่งมีการเปลี่ยนแปลงพื้นที่เปนชุมชนเมือง

                   เพื่อใชเปนที่อยูอาศัย และเพิ่มพื้นที่การเกษตร โดยเฉพาะพื้นที่ในเขตเมือง ทําใหเกิดผลกระทบในเรื่องของ

                   อุทกภัย ดินเสื่อมคุณภาพ เปนตน
                   ที่ดินทํากินของประชาชนซอนทับกับพื้นที่ของรัฐ

                                 การเกิดปญหาดานการถือครองที่ดินของประชาชน บางสวนอยูในที่ดินของรัฐทําให
                   เกิดความขัดแยงขึ้น ผลกระทบที่เกิดขึ้น ไดแก พื้นที่ปาและพื้นที่อนุรักษถูกบุกรุกทําลาย ระบบนิเวศขาดความสมดุล

                   11.2 ปาไม
                          ทรัพยากรปาไมของจังหวัดสุราษฎรธานีมีแนวโนมขยายเพิ่มขึ้น จากขอมูลยอนหลัง 3 ป (พ.ศ.2559 - 2561)

                   รายละเอียดตามตารางที่ปรากฏ


                                               พื้นที่ปา (ไร)                        การเปลี่ยนแปลง (+/-)
                      พื้นที่
                                  2559           2560           2561       2559 - 2560   รอยละ   2560 - 2561   รอยละ
                   ประเทศไทย   102,174,805.09   102,156,350.53   102,488,302.20   -18,454.56   -0.06   331,951.67   0.32
                   ภาคใต      11,076,832.92   11,088,343.45   11,207,228.70   11,510.53   0.03   118,885.25   1.07
                   สุราษฎรธานี   2,338,120.13   2,342,450.01   2,353,412.71   4,329.88   0.14    10,962.70   0.47
                   ที่มา: สํานักงานจัดการที่ดิน  กรมปาไม ป พ.ศ. 2560
   28   29   30   31   32   33   34   35   36   37   38